บทความ

QR Code ของแทนพันธุ์

รูปภาพ
 

Humanistic Learning Theory in Counselor Education

 Humanistic Learning Theory in Counselor Education Abstract    The purpose of this paper is to explain how humanistic learning theory is applicable to current counselor education practices. A review of humanistic learning theory and the rationale for the application of the learning theory to counselor education provide a framework for application of these concepts to counselor education classrooms. Specifically, a person-centered framework is applied to the seeming incompatibility of external accreditation standards and humanistic learning theory. I propose suggestions for implementing humanistic, person-centered learning theory within counselor education programs and courses, focusing special attention on the attitudes and values of the counselor educator as these principles are applied. บทคัดย่อ บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่ออธิบายว่าทฤษฎีการเรียนรู้อย่างเห็นอกเห็นใจสามารถประยุกต์ใช้กับที่ปรึกษาปัจจุบันได้อย่างไรแนวปฏิบัติด้านการศึกษา การทบทวนทฤษฎีการเรียนรู้ที่เห็นอกเห็นใจ...

Connectivism and leadership: harnessing a learning theory for the digital age to redefine leadership in the twenty-first century

  Connectivism and leadership: harnessing a learning theory for the digital age to redefine leadership in the twenty-first century ABSTRACT This manuscript provides a literature review of connectivism. It presents evidence and thinking in which connectivism, a new learning theory which has typically been used for online learning, is applied to leadership, with a provocative discussion on the yet unexplored opportunities to use connectivism to redefine leadership in the twenty-first century. The paper aims to bridge the gap between the contributions of digital learning in education and the field of leadership theory and development. It seeks to apply the critical tenets of connectivism in education and learning to leadership theory and to stimulate a debate on new forms of leadership. ต้นฉบับนี้ให้การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับความเชื่อมโยง นำเสนอหลักฐานและความคิดที่ว่า Connectivism ซึ่งเป็นทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ซึ่งปกติแล้วมักใช้สำหรับการเรียนรู้ออนไลน์ นำมาประยุกต์ใช้กับภาวะผู้นำการอภ...

ภาวะผู้นำเหนือผู้นำ แบบภาวะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 2

  ดาวรุวรรณ ถวิลการ (2558). ภาวะผู้นำเหนือผู้นำ แบบภาวะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 2 ,วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2558 ,หน้า 23-35. ดาวรุวรรณ ถวิลการ    อาจารย์ประจำสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Abstract ภาวะผู้นำเหนือผู้นำเป็นภาวะผู้นำของผู้นำที่นำคนอื่นเพื่อให้คนอื่นสามารถนำตนเองได้ โดยผู้นำทำตนเป็นผู้สอนและแนะนำให้ผู้ตามเกิดการพัฒนากรอบความคิดเชิงเหตุผล และสร้างสรรค์ให้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองจนมีความมั่นใจ มีความเป็นอิสระในตน จนมีความเป็นผู้นำเกิดขึ้นในตนเอง โดยการสร้างแรงบันดาลใจผู้อื่น (Inspiration) ให้สามารถจูงใจตนเองและนำตนเองได้ แนวคิดเกี่ยวกับผู้นำเหนือผู้นำนั้นกำหนดให้ผู้นำต้องมีความกล้าเสี่ยงกับคน และจะต้องเชื่อว่าถ้าเปิดโอกาสให้เขานำตนเองแล้ว เขาก็จะพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพสูงสุดที่เขามีและจะทำงานนั้นด้วยตนเองอย่างได้ผลดีสูงสุดเช่นเดียวกัน กุญแจที่สำคัญที่สุดของการเป็นผู้นำเหนือผู้นำ คือ การมี “ความสามารถในการสอนและให้กรอบความคิดที่ถูกต้อง” แก่สมาชิก   ซึ่งกระบวนการในการสร้างผู้นำข...

การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร

 สุดใจ เขียนภักดี  องอาจ นัยพัฒน์ และทวิกา  ตั้งประภา (2563). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลยัอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ,วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2564 ,หน้า 1-18. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร 2) วิเคราะห์สาเหตุที่เกิดความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร   ด้วยวิธีการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น เรียงตามลำดับความสำคัญด้วยดัชนี (Modified Priority Index :PNImodified)  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้บริหารและครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 345 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า 5...

บทคัดย่อกรณีศึกษากระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในวชิราวุธวิทยาลัย

  บทคัดย่อ