บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022

Vlog กับแทนพันธุ์ EP.1 พาทัวร์โรงเรียนเทศบาลศรีบุณยานุสสรณ์

รูปภาพ
 

QR Code ของแทนพันธุ์

รูปภาพ
 

Humanistic Learning Theory in Counselor Education

 Humanistic Learning Theory in Counselor Education Abstract    The purpose of this paper is to explain how humanistic learning theory is applicable to current counselor education practices. A review of humanistic learning theory and the rationale for the application of the learning theory to counselor education provide a framework for application of these concepts to counselor education classrooms. Specifically, a person-centered framework is applied to the seeming incompatibility of external accreditation standards and humanistic learning theory. I propose suggestions for implementing humanistic, person-centered learning theory within counselor education programs and courses, focusing special attention on the attitudes and values of the counselor educator as these principles are applied. บทคัดย่อ บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่ออธิบายว่าทฤษฎีการเรียนรู้อย่างเห็นอกเห็นใจสามารถประยุกต์ใช้กับที่ปรึกษาปัจจุบันได้อย่างไรแนวปฏิบัติด้านการศึกษา การทบทวนทฤษฎีการเรียนรู้ที่เห็นอกเห็นใจและเหตุผลในการ

Connectivism and leadership: harnessing a learning theory for the digital age to redefine leadership in the twenty-first century

  Connectivism and leadership: harnessing a learning theory for the digital age to redefine leadership in the twenty-first century ABSTRACT This manuscript provides a literature review of connectivism. It presents evidence and thinking in which connectivism, a new learning theory which has typically been used for online learning, is applied to leadership, with a provocative discussion on the yet unexplored opportunities to use connectivism to redefine leadership in the twenty-first century. The paper aims to bridge the gap between the contributions of digital learning in education and the field of leadership theory and development. It seeks to apply the critical tenets of connectivism in education and learning to leadership theory and to stimulate a debate on new forms of leadership. ต้นฉบับนี้ให้การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับความเชื่อมโยง นำเสนอหลักฐานและความคิดที่ว่า Connectivism ซึ่งเป็นทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ซึ่งปกติแล้วมักใช้สำหรับการเรียนรู้ออนไลน์ นำมาประยุกต์ใช้กับภาวะผู้นำการอภิปรา

ภาวะผู้นำเหนือผู้นำ แบบภาวะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 2

  ดาวรุวรรณ ถวิลการ (2558). ภาวะผู้นำเหนือผู้นำ แบบภาวะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 2 ,วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2558 ,หน้า 23-35. ดาวรุวรรณ ถวิลการ    อาจารย์ประจำสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Abstract ภาวะผู้นำเหนือผู้นำเป็นภาวะผู้นำของผู้นำที่นำคนอื่นเพื่อให้คนอื่นสามารถนำตนเองได้ โดยผู้นำทำตนเป็นผู้สอนและแนะนำให้ผู้ตามเกิดการพัฒนากรอบความคิดเชิงเหตุผล และสร้างสรรค์ให้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองจนมีความมั่นใจ มีความเป็นอิสระในตน จนมีความเป็นผู้นำเกิดขึ้นในตนเอง โดยการสร้างแรงบันดาลใจผู้อื่น (Inspiration) ให้สามารถจูงใจตนเองและนำตนเองได้ แนวคิดเกี่ยวกับผู้นำเหนือผู้นำนั้นกำหนดให้ผู้นำต้องมีความกล้าเสี่ยงกับคน และจะต้องเชื่อว่าถ้าเปิดโอกาสให้เขานำตนเองแล้ว เขาก็จะพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพสูงสุดที่เขามีและจะทำงานนั้นด้วยตนเองอย่างได้ผลดีสูงสุดเช่นเดียวกัน กุญแจที่สำคัญที่สุดของการเป็นผู้นำเหนือผู้นำ คือ การมี “ความสามารถในการสอนและให้กรอบความคิดที่ถูกต้อง” แก่สมาชิก   ซึ่งกระบวนการในการสร้างผู้นำของผู้นำที่มีภาวะผู้

การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร

 สุดใจ เขียนภักดี  องอาจ นัยพัฒน์ และทวิกา  ตั้งประภา (2563). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลยัอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ,วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2564 ,หน้า 1-18. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร 2) วิเคราะห์สาเหตุที่เกิดความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการประกันคุณภาพภายในของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร   ด้วยวิธีการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น เรียงตามลำดับความสำคัญด้วยดัชนี (Modified Priority Index :PNImodified)  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้บริหารและครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 345 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนก อยู่ระ

บทคัดย่อกรณีศึกษากระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในวชิราวุธวิทยาลัย

  บทคัดย่อ

การเปรียบเทียบระดับการยอมรับนวัตกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาที่มีภูมิหลังต่างกันเขตการศึกษา 11

  การเปรียบเทียบระดับการยอมรับนวัตกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาที่มีภูมิหลังต่างกันเขตการศึกษา 11 A COMPARISON OF THE LEVEL OF ACCEPTANCE OF MATHEMATICSINSTRUCTIONAL INNOVATIONS OF SECONDARY SCHOOLMATHEMATICS TEACHERS WITH DIFFERENT BACKGROUNDS,EDUCATIONAL REGION ELEVEN. ชื่อนิสิต เพชรา เพชรแก้ว Petchara Petkaew ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา รศ พร้อมพรรณ อุดมสิน Asso.Prof.Prompan Udomsin ชื่อสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ครุศาสตร์ (การศึกษาคณิตศาสตร์) Master. Education (Mathematics Education) ปีที่จบการศึกษา 2534 บทคัดย่อ(ไทย) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาระดับการยอมรับนวัตกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของครูคณิตศาสตร์ในเขตการศึกษา 11 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับการยอมรับนวัตกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาที่มีภูมิหลังต่างกันในด้าน เพศประสบการณ์ในการสอนคณิตศาสตร์ การอบรมเกี่ยวกับส

การพัฒนาแนวทางการบริหารงานเทคโนโลยีการศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็ก :กรณีศึกษาโรงเรียนวัดทำใหม่ โรงเรียนวัดศรีภวังค์และโรงเรียนวัดลาดระโหง

  การพัฒนาแนวทางการบริหารงานเทคโนโลยีการศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็ก :กรณีศึกษาโรงเรียนวัดทำใหม่ โรงเรียนวัดศรีภวังค์และโรงเรียนวัดลาดระโหง Title Alternative THE GUIDELINE DEVELOPMENT OF THE EDUCATIONAL TECHNOLOGYMANAGEMENT IN SMALL SCHOOLS : A CASE STUDY OFWAT THAM MAI SCHOOL WAT SRIPAWANG SCHOOLAND WAT LADRAHONG SCHOOL Creator Name:   ปราณี ชาญเชาว์ Address:  ปริญญาโท Organization :  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา Subject keyword:  เทคโนโลยีการศึกษา ThaSH:   สถานศึกษาขนาดเล็ก Description Abstract:  การวิจัยครั้งนี้ เป็นกรณีศึกษาวิจัย โรงเรียนวัดทำใหม่ โรงเรียนวัดศรีภวังค์ และโรงเรียนวัดลาดระโหง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการบริหารงานเทคโนโลยีการศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็ก 2) พัฒนาแนวทางการบริหารงานเทคโนโลยีการศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็ก และ 3) ศึกษาผลการใช้แนวทางการบริหารงานเทคโนโลยีการศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็ก ผู้มีส่วนร่วมประกอบไปด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองและนักเรียนของโรงเรียนวัดทำใหม่ โรงเรียนวัดศรีภวังค์ และโรงเรียนวัดลาด

การพัฒนารูปแบบศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา สำหรับสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ในจังหวัดนครราชสีมา

  การพัฒนารูปแบบศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา สำหรับสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ในจังหวัดนครราชสีมา Title Alternative The Development of Educational Media and Technology Center Model for College of the Department of Vocational Education in Nakhon Ratchasima Creator Name:   ทวิกานต์ ผดุงสันต์ Subject keyword:  ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา- -วิจัย ThaSH:   การศึกษา Classification :.DDC:   371.33 Description Abstract:  การศึกษาครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนารูปแบบศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา สำหรับสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ในจังหวัดนครราชสีมา พัฒนาจากความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีการศึกษา ตามเทคนิคการวิจัยแบบเดลฟาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา จำนวน 20 คน คือ ผู้บริหารศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา หรือผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด กรมอาชีวศึกษา ในจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 6 คน นักเทคโนโลยีการศึกษา จำนวน 7 คน และ หัวหน้าศูนย์วิทยบริการหรือหัวหน้างานสื่อการเรียนการสอน จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใชัในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบกึ่งปลายเปิดและแบบมาตราส่วน